มาตรฐานแพทย์แผนไทย

0 0
Read Time:2 Minute, 6 Second

มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.)
Thai Traditional Medicine & Integrative Medicine
Promoting Hospital Standard (TIPhS)

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยสถาบันการแพทย์แผนไทย ได้จัดทำมาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ในระดับโรงพยาบาลและสถานีอนามัย มาตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๗ และปรับปรุงให้มีความเหมาะสมในปีงบประมาณ ๒๕๕๕๕๑ เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐใช้เป็นแนวทางในการจัดบริการการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐาน ซึ่งจะทำให้ประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย โดยให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประเมินหน่วยบริการภายในจังหวัดของตนเอง ๒ ปี/ครั้ง และได้รับใบประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานจากกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพย์ทางเลือก และเพื่อให้มาตรฐานมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น จึงได้มีการปรับปรุงอีกครั้งในปลายปีงบประมาณ ๒๕๕๕ และต่อเนื่องในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เพื่อให้มาตรฐานเป็นเครื่องมือในการตอบสนองตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องกับกรมพัฒนากาการแพย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คือ ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (ร้อยละ ๑๔) ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารงานสาธารณสุของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ประดิษธ สินธวณรงค์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธาธารณสุขนายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่าภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน ดังนั้นกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมมสาน (รพ.สส.ww.) Thai Traditional Medicine & Integrative Medicine Promoting Hospital Standard (TIPhS) เพื่อให้หน่วยบริการในส่วนภูมิภาคสามารถจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ขอขอบคุณผู้บริหารกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คณะกรรมการพัฒนามาตรธานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ผู้รับผิดขอบงานการแพทย์แผนไทยในส่วนภูมิภาคทุกระดับและเครือข่ายมหาวิทยาลัยทางด้านการแพทย์แผนไทย ที่กรุณาให้ความคิดเห็นในการจัดทำมาตรฐานฯ ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ และขอขอบคุณผู้รับผิดขอบงานแพทย์แผนไทยของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ของจังหวัดอ่างทองและสระบุรี ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการทดสอบมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน และหวังว่าหนังสือมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องในการนำไปปฏิบัติบัติได้อย่างถูกต้อง และสามารถพัฒนางานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานให้ให้ได้มาตฐาน เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายสามารถคุ้มครองผู้บริโภคที่มารับบริการให้ได้รับบริการที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัยอย่างทั่วถึวถึงและเท่าเทียมกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสผสมสมผสาน และการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนโดยรวมต่อไป

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพจัดเก็บรายได้

0 0
Read Time:6 Second

แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพจัดเก็บรายได้
กรณีตัวอย่างโรงพยาบาลขนาดใหญ่

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การคำนวนวงจรเงินสด (Cash Conversion Cycle หรือ CCC)

0 0
Read Time:53 Second

ความหมายของวงจรเงินสดทางการเงิน

วงจรเงินสด (Cash Conversion Cycle หรือ CCC) เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินในธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการเปลี่ยนสินทรัพย์ให้กลายเป็นเงินสด วงจรเงินสดแสดงระยะเวลาที่ธุรกิจต้องรอเพื่อแปลงสินค้าคงคลังและลูกหนี้ให้เป็นเงินสด ในขณะเดียวกันก็คำนึงถึงเวลาที่ต้องชำระให้กับเจ้าหนี้

สูตรการคำนวณวงจรเงินสด

วงจรเงินสดสามารถคำนวณได้จากสูตรดังนี้:

CCC = DIO + DSO – DPO

โดยที่:

  • DIO (Days Inventory Outstanding): จำนวนวันเฉลี่ยที่สินค้าคงคลังอยู่ในระบบ ก่อนขายออก
  • DSO (Days Sales Outstanding): จำนวนวันเฉลี่ยที่ลูกหนี้ใช้ในการชำระเงินหลังจากการขาย
  • DPO (Days Payable Outstanding): จำนวนวันเฉลี่ยที่ธุรกิจใช้ในการชำระเงินให้กับเจ้าหนี้

ตัวอย่างการคำนวณ

สมมติว่าธุรกิจมีข้อมูลดังนี้:

  • DIO = 30 วัน
  • DSO = 45 วัน
  • DPO = 20 วัน

วงจรเงินสดจะเท่ากับ:

CCC = 30 + 45 – 20 = 55 วัน

ซึ่งหมายความว่า ธุรกิจต้องใช้เวลา 55 วันในการแปลงสินทรัพย์และหนี้สินให้กลายเป็นเงินสด

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สิทธิที่เจ้าหน้าที่ของรัฐพึงรู้เกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลและค่าเช่าบ้าน

0 0
Read Time:5 Second
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางแนบเอกสาร EIA-68

0 0
Read Time:18 Second

การชี้แจงแนวทางการแนบเอกสารในระบบตรวจสอบภายใน
ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 5 มิติ (Electronics Internal Audit : EIA)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ในวันที่ 7 มกราคม 2568 เวลา 09.30 – 16.00 น.

Video ชี้แจง

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

I/E ratio กับ ร้อยละค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ ต่างกันยังไง?

0 0
Read Time:29 Second
ตัวอย่างข้อมูล รพ.โคกโพธิ์ไชย ที่มี I/E Ratio 1.12 และมีร้อยละค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ อยู่ที่ร้อยละ125.11

และ ร้อยละค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ ต่างกันในแง่ของจุดเน้นและการวิเคราะห์ทางการเงิน ดังนี้:

สรุปความต่าง:

  • I/E Ratio: มองภาพรวมรายได้ทุกประเภทเทียบกับค่าใช้จ่ายทั้งหมด
  • ร้อยละค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ: โฟกัสเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับรายได้จากบริการโดยตรง

และสามารถใช้ควบคู่กันเพื่อให้เห็นทั้งภาพรวมและรายละเอียดเชิงลึกของการบริหารการเงิน

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

กปท68-การดําเนินงานกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กปท.) ปี 2568

0 0
Read Time:49 Second

กําหนดการประชุมเพื่อซักซ้อมการแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กปท.)

กำหนดการ

  • ความสำคัญงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่และกองทุนการดูแลระยะยาวบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
  • นโยบายทิศทางการดำเนินงานของกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น(กปท.) ปึงบประมาณ 2568 ก้าวสู่ปีงบประมาณ 2569
  • แนวทางการปฏิบัติกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นและกองทุนบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้มีภาวะพึ่งพึ่งพิง
  • แจ้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น(กปท.) ปีงบประมาณ 2568 ประกอบด้วย 3 กองทุน
    • กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
    • กองทุนการดูแลระยะยาวการบริการด้านสาธารณสุขสำหรับบุคคลผู้มีภาวะพึ่งพิง
    • กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ระดับจังหวัด

วีดีโอชี้แจงกปท68

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงแนวทางฯสิทธิ UC และสิทธิอื่น ปีงบ ๖๘

0 0
Read Time:35 Second

ประชุมชี้แจงแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสิทธิอื่น สิ่งที่เปลี่ยนแปลง ปีงบประมาณ 2568 (สำหรับหน่วยบริการ)

Video ชี้แจงผ่าน FB

Happy
1 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ต่างด้าว68-แนวทางตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพคนต่างด้าวปี68

0 0
Read Time:16 Second
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ตัวชี้วัด68-ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน (ระดับ 6 และ ระดับ 7)

0 0
Read Time:5 Second
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version