• พันธกิจ 1. ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อให้ประชาชนสุขภาพดี
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพของคนในพื้นที่ให้มีสุขภาพดีทุกกลุ่มวัย
      • 1 K101 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับบริการตามเกณฑ์คุณภาพ
      • 2 K102 ร้อยละของเด็กเกิดมีชีพ น้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2500 กรัม
      • 3 K103 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์
      • 4 K104 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
      • 5 K105 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการ ในเกณฑ์ปกติ
      • 6 K106 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ
      • 7 K107 ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ
      • 8 K108 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลตามเกณฑ์ (สุขภาพกาย และสุขภาพจิต)
      • K108.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพมีภาวะสุขภาพดี ตามเกณฑ์ (สุขภาพกาย และสุขภาพจิต)
      • 9 K109 ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการคัดกรองด้านสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด
      • 10 K110 ร้อยละของผู้สุงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลตามสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาพในทุกมิติ
      • 11 K111 ร้อยละของกลุ่มผู้มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
      • 12 K112 อัตราป่วยรายใหม่ DM
      • K112.1 อัตราการค้นพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย DM ในกลุ่มอายุ35 ปีขึ้นไป
      • K112.2 อัตราการป่วย DM รายใหม่ ในกลุ่ม เสี่ยง
      • 13 K113 อัตราป่วยรายใหม่ HT
      • K113.1 อัตราการค้นหากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย HT ในกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่า 10%
      • K113.2 อัตราการป่วย HT รายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยง ไม่เกิน25 %
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่
      • 14 K114 อัตราความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน
      • 15 K115 ร้อยละสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีHPV DNA TEST
      • 16 K116 ประชาชนอายุ50-70 ปี(รายใหม่) กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test
      • 17 K117 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (KPI ร่วม)
      • 18 K118 ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพตามที่ได้รับมอบหมาย
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. ส่งเสริม และเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของคนในชุมชนให้ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ มีความปลอดภัย
      • 19 K119ร้อยละของร้านขายของชำ ไม่วางจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฏหมายและไม่ปลอดภัย
        • – ยา (KPI ร่วมกับ CUP)
        • – อาหาร
        • – เครื่องสำอาง
  • พันธกิจ 2. พัฒนาคุณภาพและศักยภาพในการให้บริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. พัฒนาบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานระบบบริการปฐมภูมิ
      • 20 K201 ร้อยละรพ.สต.ผ่านเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานบริการสุขภาพปฐมภูมิ (8 ด้าน)
      • 21 K202 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ในสถานบริการ, ในชุมชน)
      • ประเด็นยุทธศาสตร์ 5. พัฒนาศักยภาพการให้บริการปฐมภูมิให้ครอบคลุมปัญหาสุขภาพสำคัญของพื้นที่ (OTOP 1 ตำบล 1 Health)
      • 22 K203 ร้อยละของ รพ.สต. มีจำนวนครั้งของการใช้บริการผู้ป่วยนอก(OP Visit) เทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย ผ่านเกณฑ์ 60:40
      • 23 K204 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
      • 24 K205 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
      • 25 K206 ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
      • 26 K207 ร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรคทางเดินหายใจและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
      • 27 K208 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์มาตรฐาน
      • 28 K209 ร้อยละ รพ.สต. ให้บริการทันตกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนด
      • 29 K210 จำนวนของ รพ.สต. Premium ที่ดำเนินการตามเป้าหมาย
  • พันธกิจ 3. พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเพื่อให้บริการประชาชนแบบไร้รอยต่อ
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 6. พัฒนาระบบและช่องทางความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพในการจัดบริการสุขภาพและระบบสารสนเทศเพื่อให้บริการแบบไร้รอยต่อ (K301-303 ขอความร่วมมือจาก สสจ.)
      • 30 K301 ร้อยละของผู้ป่วย (Stroke , Stemi) ในภาวะวิกฤตได้รับการดูแลส่งต่ออย่างทันเวลา
      • 31 K302 Sepsis
      • 32 K303 ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องได้รับการรับ-ส่งต่อที่เป็นมาตรฐาน
        • – ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่ม IMC
        • – ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่ม NCD
        • – ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่ม CKD
        • – ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มจิตเวช
        • – ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มยาเสพติด
      • 33 K304 ร้อยละของ รพ.สต.มีการส่งต่อข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องครบถ้วน ทันเวลาตามเกณฑ์ที่กำหนด
      • 34 K305 ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพเพื่อการบริการสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
  • พันธกิจ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้องค์กรมีสมรรถนะสูงขึ้น
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 7. พัฒนาองค์กรให้มี ธรรมภิบาลและบริหารการเงิน ให้มีประสิทธิภาพ สมดุลอย่างยั่งยืน
      • 35 K401 ร้อยละของ รพ.สต. มีแผนเงินบำรุงและดำเนินการได้ตามแผน
      • 36 K402 ร้อยละของ รพ.สต. มีคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. (วัด รร. อปท. ชุมชน ประชาชนและเครือข่ายอื่นๆ) และดำเนินงานได้ตามเกณฑ์
      • 37 K403 ระดับความสำเร็จของระบบฐานข้อมูลทรัพยากร (บุคลากร,เงิน,เครื่องมือ อุปกรณ์) รพ.สต.ที่มีคุณภาพ ภายใน 1 ปี
      • 38 K404 ระบบการสื่อสารในองค์กร (อบจ.กับ รพ.สต.)
      • 39 K405 ร้อยละของ รพ.สต. ผ่านเกณฑ์การประเมิน LPA ด้านที่ 4
      • 40 K406 ร้อยละของ รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ Smart รพ.สต.
    • ประเด็นยุทธศาสตร์ 8. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะ มีความสุขและมีจำนวนที่เหมาะสม ต่อการให้บริการ
      • 41 K407 ร้อยละบุคลากรได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์
      • 42 K408 ร้อยละของบุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี และมีสุขภาพดีตามเกณฑ์
      • 43 K409 จำนวนนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ (อบจ.)
Happy
Happy
0 %
Sad
Sad
0 %
Excited
Excited
0 %
Sleepy
Sleepy
0 %
Angry
Angry
0 %
Surprise
Surprise
100 %

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Previous post การอบรมผู้ใช้งานระบบประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ และบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย
Next post อบรมพัฒนาศักยภาพการเงินการคลัง