ชี้แจงแนวทางชดเชยการใช้สารสกัดกัญชา65

0 0
Read Time:1 Minute, 8 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการจ่ายชดเชยการใช้น้ำมันกัญชาและสารสกัดกัญชา ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
วันศุกร์ที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา 0๙.๐๐ – ๑๓.๐๐ น.

กำหนดการดังนี้
  • ประธานกล่าวเปิดการประชุม และแจ้งวัตถุประสงค์การประชุม โดย นพ.การุณย์ คุณติรานนท์ ที่ปรึกษาสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • แนวทางการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่มีใบอนุญาตให้จำหน่ายยาเสพติดให้โทษ ประเภท ๕ (กัญชา) โดย ผู้แทน สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
  • แนวทางและเงื่อนไขในการใช้น้ำมันกัญชา และสารสกัดกัญชา ตามโครงการยา จ.๓ โดย ผู้แทน สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ ผู้แทน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผู้แทน รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศ
  • แนวทาง และการบันทึกข้อมูล เพื่อเบิกจ่ายเงินชดเชย การใช้น้ำมันกัญชาและสารสกัดกัญชา ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดย ผู้แทน สายงานบริหารกองทุน สปสช.
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงกองทุน ปี2565

0 0
Read Time:1 Minute, 13 Second

ประชุมการชี้แจงหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข การขอรับค่าบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ในวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ผ่านทาง ถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live ของ สปสช. โดยผ่านลิงค์ https://www.facebook.com/NHSO.Thailand วาระในการประชุมประกอบไปด้วย

  • นโยบายการจ่ายเงินกองทุน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โดย นายแพทย์จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการ สปสช.
  • หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการขอรับค่าใช้จ่ายค่าบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ที่มีการเปลี่ยนแปลง โดย ผู้บริหารฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • กลไกการตรวจสอบก่อนและหลังจ่ายชดเชยค่าบริการสาธารณสุข ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย ผู้บริหารฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยและคุณภาพบริการ
  • โปรแกรม e-Claim สำหรับการบันทึกข้อมูลการขอรับค่าใช้จ่ายค่าบริการสาธารณสุข และระบบยืนยันการเข้ารับบริการ Authentication code ที่มีการเปลี่ยนแปลง โดย ผู้บริหารฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน
  • การบันทึกบัญชีกรณีรับเงินค่าบริการสาธารณสุข สำหรับโรคโควิด-19 กรณี HI-CI และระบบรายงานการโอนเงินผ่าน HNSO Budget โดย ผู้บริหารฝ่ายบริหารระบบการเงินและบัญชีกองทุน
Happy
1 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คู่มือการขอAuthen Codeใหม่

0 0
Read Time:1 Minute, 35 Second

การใช้งานระบบพิสูจน์ตัวตนเพื่อยืนยันเข้ารับบริการ (Authentication Code) ของหน่วยบริการ ประกอบด้วยระบบย่อยๆ 4 ระบบ

  1. ระบบตรวจสอบสิทธิและลงทะเบียนออนไลน์ (ERM)
    • 1.1.ภาพรวมการเตรียมพร้อมสำหรับการใช้งานระบบพิสูจน์ตัวตน เพื่อยืนยันเข้ารับบริการ (Authen Code/Claim Code) ของหน่วยบริการ
    • 1.2.วิธีขอสิทธิการเข้าใช้งานระบบตรวจสอบสิทธิประกันสุขภาพโดยการ Authentication ด้วยบัตร Smart Card
    • 1.3.แบบฟอร์มขอสิทธิการเข้าใช้งานระบบตรวจสอบสิทธิประกันสุขภาพโดยการ Authentication ด้วยบัตร Smart Card
    • 1.4.วิธีติดต่อขอรับ PIN CODE ของเจ้าหน้าที่หน่วยบริการ
    • 1.5.คุณสมบัติเครื่องอ่านบัตรประจำตัวประชาชน Smart Card
    • 1.6.ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมการใช้งาน
    • 1.7.การเข้าใช้งานโปรแกรมพิสูจน์ตัวตนเพื่อยืนยันเข้ารับบริการ (Authentication Code)
    • 1.8.การเปิดใช้งานโปรแกรม E-FORM Agent
    • 1.9.การเปิดใช้งานโปรแกรม UC Authentication 4.x
  2. ระบบตรวจสอบและยืนยันการเข้ารับบริการ (New Authen Code)
    • 2.1.การเข้าสู่ระบบ
    • 2.2.ตรวจสอบและยืนยันการเข้ารับบริการ
      • 2.2.1.รูปแบบที่ 1 ยืนยันตัวตนด้วยบัตร Smart Card
      • 2.2.2.รูปแบบที่ 2 ยืนยันตัวตนด้วยเลขประจำตัวประชาชน และรูปภาพ
    • 2.3.ค้นหา/แก้ไข ข้อมูลการรับบริการ
      • 2.3.1.การค้นหา ข้อมูลการรับบริการ
      • 2.3.2.การแก้ไข ข้อมูลการรับบริการ
      • 2.3.3.การยกเลิก/ลบ ข้อมูลการรับบริการ
    • 2.4.ประวัติ Authentication Code รายบุคคล
      • 2.4.1.การค้นหาประวัติ Authentication Code รายบุคคล
    • 2.5.รายงาน
      • 2.5.1.ส่งออก eclaim
  3. การเข้าใช้งานระบบ CPP เพื่อสร้าง QR CODE เพื่อนำไปใช้กับการ Authen ตัวตน ของหน่วยบริการ
  4. ระบบขอรหัสเข้ารับบริการ ผ่าน Line OA @nhso สำหรับประชาชน
Happy
4 50 %
Sad
0 0 %
Excited
3 38 %
Sleepy
0 0 %
Angry
1 13 %
Surprise
0 0 %

cpg-covid19 อัพเดต09ก.ย.64

0 0
Read Time:15 Second

แนวทางเวชปฏิบัติ cpg การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2564

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมชี้แจงแนวทางการขอทักท้วงฯและสรุปผลการตรวจสอบก่อนการจ่ายชดเชย กรณีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear)

0 0
Read Time:31 Second

ประชุมชี้แจงแนวทางการขอทักท้วงฯและสรุปผลการตรวจสอบก่อนการจ่ายชดเชย กรณีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear)

สปสช.เขต7 ขอนแก่นจะจัดประชุมประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจสอบ สรุปผลการตรวจสอบ และการยื่นขออุทธรณ์ของหน่วยบริการ กรณีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) จึงขอเชิญรพ./รพ.สต.เข้าร่วมประชุมผ่านระบบ Zoom

หัวข้อการชี้แจง

  • วัตถุประสงค์การประชุม
  • การจ่ายชดเชยการให้บริการสงเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กรณีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap Smear / VIA
  • การตรวจสอบก่อนจ่าย(Pre audit)
  • ผลการตรวจสอบ/รายละเอียดประเด็นที่พบ
  • ขั้นตอนวิธีการขอทักท้วงผลการตรวจสอบ
  • แนวทางการจัดทำเอกสารแฟ้มเวชระเบียนเพื่อรองรับการตรวจสอบ
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รวมแบบคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น

0 0
Read Time:3 Minute, 24 Second

แบบคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ตามมาตรา 41.

ผู้รับบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือบัตรทอง ที่ได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ ทายาท หรือผู้อุปการะ หรือหน่วยบริการที่ให้บริการ มีสิทธิยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ตามมาตรา 41 พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 สามารถยื่นคำร้องภายใน 2 ปี นับแต่วันที่ทราบความเสียหาย

แบบคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการได้รับความเสียหายจากการให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตาม ม.18(4)

การช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการในระบบหลักประกันสขภาพถ้วนหน้าตามมาตรา ม.18(4)

  • ความเสียหายที่เข้าเกณฑ์ที่จะได้รับการพิจารณาช่วยเหลือเบื้องต้น ต้องเป็นความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุข หรือจากการช่วยเหลือสนับสนุนการให้บริการสาธารณสุข
  • การพิจารณาความเสียหายและอัตราการจ่ายเงินช่วยเหลือ ตามกำหนดในข้อ 29 ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
    1. กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวร จ่ายตั้งแต่ 240,000 บาท แต่ไม่เกิน 400,000 บาท
    2. กรณีสูญเสียอวัยวะหรือพิการ จ่ายตั้งแต่ 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 240,000 บาท
    3. กรณีบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยต่อเนื่อง จ่ายได้ไม่เกิน 100,000 บาท
  • ระยะเวลาการยื่นคำร้อง ยื่นภายใน 2 ปีนับแต่วันที่ทราบความเสียหาย

แบบคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีได้รับความเสียหายจากการรับวัคนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19(Coronavirus Disease 2019(COVID-19))

คำแนะนำ

  1. ผู้มีสิทธิยื่นคำร้อง ได้แก่ ผู้รับบริการ หรือ ทายาท ผู้อุปการะ(กรณีไม่มีทายาท)ที่ให้การช่วยเหลือเกื้อกูลหรือดูแลผู้รับบริการอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานพอสมควร หรือหน่วยบริการที่ให้บริการ
  2. สถานที่ยื่นคำร้อง ได้แก่ รพ.สต. โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานหลักประกันสุขภาพสาขาเขตพื้นที่
  3. ระยะเวลาในการยื่นคำร้อง ภายใน 2 ปี นับแต่วันที่ทราบความเสียหาย
  4. หน่วยงานที่แจ้งผลการพิจารณา : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตพื้นที่ ที่รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดที่เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19

แนวทางการดำเนินการขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุข ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2562)

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้ปรับปรุงแนวทางการดำเนินการขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุข ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยปรับลดขั้นตอนให้มีความกระชับมากขึ้น เพื่อให้การดำเนินการยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ตามเจตนารมณ์ของระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุข พ.ศ. 2561 และจัดทำเป็น แนวทางการดำเนินการขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุข ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2562)

ทั้งนี้ ได้แจ้งเวียนส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทราบและแจ้งผู้เกี่ยวข้องถือปฏิบัติต่อไปตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0208.07/ว 2462 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 รวมทั้งได้เผยแพร่เอกสารไว้บนเว็บไซต์กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (https://hr.moph.go.th)

Happy
6 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการชี้แจงแนวทางขอรับค่าใช้จ่ายกรณี Hi Ci วันที่20ส.ค.64

0 0
Read Time:56 Second

เอกสารประกอบการชี้แจงแนวทางขอรับค่าใช้จ่ายกรณี Hi Ci

วาระประกอบการประชุมชี้แจงแนวทางการขอรับค่าใช้จ่ายกรณีบริการ Home Isolationและ Community Isolation
สำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.

  • กล่าวเปิด และแจ้งวัตถุประสงค์การประชุมโดย ผู้บริหารสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • Update แนวทางจ่ายชดเชยบริการ Home Isolation และCommunity Isolation สำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย สายงานบริหารกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • การพิสูจน์ตัวตนในการขอ Authentication Code และการบันทึกขอรับค่าใช้จ่ายผ่านโปรแกรม e Claim ทำอย่างไรให้ถูกต้อง รวดเร็ว โดย สายงานบริหารกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • แนวทางการตรวจสอบการให้บริการ Home Isolation และประเด็น ปัญหาาที่ตรวจพบโดย ฝ่ายตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ สายงานบริหารกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • อภิปราย ซักถาม ปิดการประชุม
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางการให้รหัสICD-10-โรคcovid19

0 0
Read Time:20 Second

The COVID-19 Codes    ดาวน์โหลดเอกสาร

  Guidelines-cause-of-death-covid-19   ดาวน์โหลดเอกสาร

  COVID-19-Coding-Updates-3-4-combined   ดาวน์โหลดเอกสาร

  รหัสยา 24 หลัก Vaccine AstraZeneca    ดาวน์โหลดเอกสาร

  การให้รหัส COVID-19   ดาวน์โหลดเอกสาร

อ้างอิงจาก

ศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564
Happy
4 80 %
Sad
0 0 %
Excited
1 20 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

cpg-covid19อัพเดต21ก.ค.64

0 0
Read Time:36 Second

แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ฉบับปรับปรุง วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข

แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข โดย คณะทำงานด้านการรักษาพยาบาลและการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ คณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ (คณะกรรมการกำกับดูแลรักษาโควิด-19) ฉบับปรับปรุง วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลCOVID-19ของชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล

0 0
Read Time:5 Minute, 3 Second

หลักเกณฑ์และแนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีรับการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ประเภทผู้ป่วยใน (IPD) สำหรับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค .๔๐๒.๕/ว๑๐๘๑๖

ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค .๔๐๒.๕/ว๑๐๘๑๖ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เรื่อง ขอตกลงการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมและรักษาผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจากเชื้อโควิด – 19 (COVID-19) และมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ ที่เห็นชอบหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 [Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)] ทั้งนี้ ให้ดำเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอนของกฎหมายระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนต่อไปด้วย
เพื่อให้การเบิกจ่ายชดเชยค่ารักษาพยาบาลของชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ประเภทผู้ป่วยใน (IPD) มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดทำหลักเกณฑ์และแนวทางการเบิกจ่ายชดเชยค่ารักษาพยาบาลของชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ประเภทผู้ป่วยใน (IPD) ประกอบด้วยรายละเอียด ดังต่อไปนี้

กลุ่มเป้าหมาย

ชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ได้แก่ บุคคลที่มีปัญหาสถานะทางทะเบียน หมายถึง บุคคลที่มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรแต่ไม่มีรายการในทะเบียนบ้าน หรือเอกสารการทะเบียนราษฎรอื่นที่มีเลขประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก หรือบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยเดินทางมาทำงานในประเทศไทย ประกอบด้วยสัญชาติเมียนมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม บุคคลไร้สัญชาติ หรือบุคคลสัญชาติอื่นที่เป็นผู้ป่วยและตรวจพบเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยใน (IPD)

หน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง

หน่วยบริการภาครัฐที่ให้บริการด้านสาธารณสุขแก่คนต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) เป็นการรักษาที่รับไว้ในโรงพยาบาลหรือเป็นประเภทผู้ป่วยใน (IPD)

หลักเกณฑ์การจ่ายค่ารักษาพยาบาล

จ่ายชดเชยค่ารักษาพยาบาลให้กับหน่วยบริการที่ได้ให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))เป็นการรักษาที่รับไว้ในโรงพยาบาล หรือเป็นประเภทผู้ป่วยใน (IPD) ตามค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉิน โรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
หน่วยบริการที่ได้ให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย ขอให้เก็บเอกสาร/หลักฐานการให้บริการทางแพทย์ไว้ที่หน่วยบริการสำหรับการตรวจสอบภายหลัง ยกเว้น การขอตรวจสอบเป็นกรณีเฉพาะราย และส่งข้อมูลเพื่อขอเบิกชดเชยค่ารักษาพยาบาล ไปยังกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทางโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเว็บไซต์กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ http://state. cfo.in.th/ ตามวิธีการและขั้นตอนการส่งข้อมูลที่กำหนด โดยเลือกรหัสรายการ (Claim Code) IPDCOVID – 19 รายการผู้ป่วยในกรณีรับการรักษา COVID – 19 สำหรับขอค่ารักษาพยาบาล

แนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล

ให้หน่วยบริการที่ได้ให้การรักษาแก่กลุ่มเป้าหมายกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) เป็นการรักษาที่รับไว้ในโรงพยาบาล หรือเป็นประเภทผู้ป่วยใน (IPD) ส่งข้อมูลขอเบิกชดเชยค่ารักษาพยาบาลคนต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ทางโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ของกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ข้อมูลการรักษาตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ที่ระบุรหัสโรค (ICD10) สอดคล้องกับการรักษา ภายใน ๓0 วัน นับจากวันที่จำหน่ายผู้ป่วย (Discharge) และจะสิ้นสุดการส่งข้อมูลเรียกเก็บโดยถือ วันส่งข้อมูล (Sent date) ภายในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ และจะทำการปิดรับข้อมูลในวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ โดยจะจ่ายชดเชยค่ารักษาพยาบาลรายเดือนตามเดือนที่ส่งข้อมูล หรือเมื่องบประมาณหมดสิ้น ข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยแต่ละรายที่อยู่ในช่วงการรักษาเดียวกันส่งเบิกได้เพียงครั้งเดียว
กรณีหน่วยบริการได้รับการจ่ายหรือได้รับการสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล ยา favipiravir สำหรับรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 20 19 (COVID-19))และชุดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE) จากงบประมาณของรัฐแล้ว ไม่ให้นำข้อมูลมาเบิกซ้ำซ้อน หากตรวจสอบพบว่า มีการเบิกซ้ำซ้อนจะดำเนินการเรียกเงินคืน

ผังขั้นตอนการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลคนต่างชาติที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีรับการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ประเภทผู้ป่วยใน (IPD)

การตรวจสอบผลการจ่ายชดเชยค่ารักษาพยาบาล

หน่วยบริการที่ส่งข้อมูลเข้าระบบแล้วสามารถตรวจสอบผลการจ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ และดาวน์โหลดหนังสือแจ้งการโอนเงินทางไซต์กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ http://state.cfo.in.th/ หน้าหลัก ข้อ ๕ แจ้งผลการโอนเงินค่ารักษาพยาบาล กรณีชาวต่างชาติ ที่ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล (COVID – 19)

หนังสือและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
1 100 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version