ประชุมชี้แจงแนวทางการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของกรุงเทพมหานคร

0 0
Read Time:51 Second

กำหนดการประชุมชี้แจงแนวทางการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของกรุงเทพมหานคร
ในวันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09.00 – 12.00 น.

วาระประชุม

  • กล่าวเปิดประชุม โดย นายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร
  • บทบาทของ สปสช. กับการทำหน้าที่ National Clearing House โดย นพ.การุณย์ คุณติรานนท์ ที่ปรึกษา สปลช.
  • เงื่อนไข สิทธิประโยชน์การเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของกรุงเทพมหานคร โดย กรุงเทพมหานคร
  • ระบบโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายของ สปสช. โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
  • แนวทางการตรวจสอบเวซระเบียน โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารการประชุม Home ward 17 ส.ค. 2565

0 0
Read Time:1 Minute, 57 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานบริการผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) ปีงบประมาณ 2565 วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

วาระประชุม

  • ประธานกล่าวเปิดการประชุม โดย นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • มาตรฐานการให้บริการผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) โดย พญ.ปิยะธิดา หาญสมบูรณ์ ที่ปรึกษา กรมการแพทย์
  • หลักเกณฑ์แนวทาง การเป็นหน่วยจัดบริการและการประเมินความพร้อมของระบบการดูแลผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) โดย นพ.ประสิทธิชัย มั่งจิตร ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล ผู้แทนสมาคมแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย
  • หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข การชดเชยค่าบริการ และหลักเกณฑ์การตรวจสอบการจ่ายค่าบริการดูแลผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) ปีงบประมาณ 2565 โดย พญ.รัชนิศ พรวิภาวี ผู้อำนวยการฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยและคุณภาพบริการ สปสช. นางอัญชลี หอมหวล รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สปสช.
  • การพิสูจน์ตัวตน (Authen) การบันทึกโปรแกรมเพื่อเบิกจ่ายค่าบริการผู้ป่วยในที่บ้านโดยระบบ E – claim และ AMED โดย น.ส.เดือนเพ็ญ คำมา ผู้เชี่ยวชาญ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน สปสช. ดร.กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์ หัวหน้าทีมวิจัยนวัตกรรมและข้อมูลเพื่อสุขภาพ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่ง อำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (AMED)

เอกสารประชุมวันที่ 23 กันยายน 2565

Happy
4 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สปสช.เขต7ประชุมชี้แจง สิทธิประโยชน์ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ โดยใช้งบกองทุนตำบล

0 0
Read Time:1 Minute, 46 Second

ประชุมชี้แจง สิทธิประโยชน์ผ้าอ้อมผู้ใหญ่/แผ่นรองซับการขับถ่าย การป้องกันและชะลอภาวะไตวายเรื้อรังในชุมชนจากงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กองทุนตำบล) (ลิงค์)

  • กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม ทำไมถึงมีนโยบาย ผ้าอ้อมผู้ใหญ่และแผ่นรองซับ ที่มาของทศวรรศชะลอไตเสื่อม สถานการณ์การบริหารงบประมาณกองทุน กปท. โดยนายแพทย์ดุสิต ขำชัยภูมิ ผู้อำนวยการ สปสช.เขต ๗ ขอนแก่น
  • สิทธประโยชน์ประชาชน จำนวนเงินเหลือ คาดการณ์การใช้เงิน โดยนายวีระศักดิ์ ชนะมาร หัวหน้ากลุ่มภารกิจฯ สปสช.เขต 7 ขอนแก่น
  • แนวทางการดำเนินงาน สิทธิประโยชน์ ผ้าอ้อมผู้ใหญ่/แผ่นรองซับการขับถ่ายในกลุ่มผู้ที่ติดบ้านติดเตียงและผู้มีปัญหากลั้นการขับถ่าย คนไทยทุกสิทธิ์ โดยนายปรเมศร์ เพ็งสว่าง นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ กลุ่มภารกิจสนับสนุนการเข้าถึงบริการปฐมภูมิ การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและ กปท.
  • การปรับ Care Plan ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อรองรับการใช้ผ้าอ้อมผู้ใหญ่/แผ่นรองซับการขับถ่าย ตามสิทธิประโยชน์ โดย ดร.สดุดี ภูห้องไสย หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยสูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
  • การป้องกันโรคไตในชุมชน ตามนโยบาย”ทศวรรษมาตรการการชะลอไตเสื่อม เพื่อลดผู้ป่วยโรคไตรายใหม่” โดยนายปรเมศร์ เพ็งสว่าง นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ กลุ่มภารกิจสนับสนุนการเข้าถึงบริการปฐมภูมิ การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและ กปท.

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แจ้งแนวทางการขอทักท้วงผลการaudit

0 0
Read Time:1 Minute, 38 Second

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น ได้แจ้งผลการตรวจสอบหลักฐานเอกสารข้อมูลเวชระเบียน กรณีบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) ก่อนจัดสรรชดเชยค่าบริการให้หน่วยบริการ ปี 2565 ในรูปแบบ PDF File จึงขอให้หน่วยบริการตรวจสอบรายงานสรุปผลการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแบบรายบุคคลทาง Web Application URL https://preaudit.nhso.go.th หากหน่วยบริการไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจสอบสามารถทักท้วงผลการตรวจสอบพร้อมระบุเหตุผลผ่านทาง Web Application ดังกล่าว ภายในวันที่ 1-10 กรกฎาคม 2565  ทั้งนี้ ถ้าไม่ดำเนินการภายในวันเวลาที่กำหนด จะถือว่าหน่วยบริการยอมรับผลการตรวจสอบ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะนำผลการตรวจสอบไปประมวลผลเพื่อจ่ายชดเชยค่าบริการ ต่อไป

                   สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น จึงขอให้ท่านแจ้งผู้รับผิดชอบงานตรวจสอบรายงานสรุปผลการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการแบบรายบุคคลทาง Web Application ดังกล่าว เพื่อทักท้วงผลการตรวจสอบ และระบุเหตุผลตามแนวทางที่กำหนด ในวันที่ 1-10 กรกฏาคม 2565 รายละเอียดตามไฟล์ด้านล่างครับ

ขั้นตอนตรวจสอบรายงานสรุปผลการตรวจสอบและแนวทางการขอทักท้วงของหน่วยบริการกรณีผลการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการให้บริการกรณีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  1. ผู้ที่สามารถเข้าใช้ระบบโปรแกรม NHSO preaudit ต้องเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยบริการ ซึ่งหน่วยบริการได้ขอสิทธิเข้าใช้ระบบตรวจสอบเวชระเบียน/ระบบรายงานผลการตรวจสอบ/ระบบอุทธรณ์มายังสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานฯเปิดสิทธิการเข้าใช้งานโปรแกรมดังกล่าว โดยแจ้ง Username และ Password ไปยัง e-mail address ของผู้แจ้งรายชื่อขอสิทธิเข้าใช้งาน
  2. หน่วยบริการสามารถเข้าตรวจสอบรายงานสรุปผลตรวจสอบเอกสารหลักฐานเวชระเบียน ได้ที่โปรแกรม NHSO preaudit Web Application เพื่อรับทราบและพิจารณาผลการตรวจสอบ
  3. กรณีที่หน่วยบริการมีความเห็นไม่ตรงกับผลการตรวจสอบเวชระเบียนของคณะกรรมการตรวจสอบ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สามารถทักท้วงผลการตรวจสอบได้ที่โปรแกรม NHSO preaudit Web Application และจำเป็นต้องระบุเหตุผลการยื่นขอทักท้วง ทุกหัวข้อที่ประสงค์อุทธรณ์ (ไม่รับพิจารณาเอกสารเพิ่มเติม)
  4. หน่วยบริการสามารถยื่นขออุทธรณ์ผลการตรวจสอบเวชระเบียนต่อสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในระยะเวลาที่กำหนดเท่านั้น หากไม่ดำเนินการภายในวันดังกล่าว ถือว่าหน่วยบริการยอมรับผลการตรวจสอบแล้ว
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การประชุมชี้แจงสิทธิรักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น

0 0
Read Time:1 Minute, 10 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานและการบริหารจัดการสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น ในวันจันทร์ ที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.

ผ่าน facebook live https://fb.watch/dLC8p_-XLK/

  • ประธานแจ้งวัตถุประสงค์ในการประชุม โดย นายแพทย์ดุสิต ขำชัยภูมิ ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๗ ขอนแก่น
  • สิทธิประโยชน์ ระเบียบ หลักเกณฑ์ สิทธิสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • บรรยายแนวทางการเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชนของพนักงานส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • บรรยายแนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีสำรองจ่าย (ใบเสร็จรับเงิน) โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • บรรยายการใช้โปรแกรมระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • ถาม-ตอบ ปัญหาที่พบจากการดำเนินงาน

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงกรณีเบิกวัสดุ/อุปกรณ์ใช้เก็บของเสียในผู้ป่วยผ่าตัดเปิดทวารเทียม

0 0
Read Time:23 Second

เอกสารประกอบการประชุมขี้แจงกรณีเบิกวัสดุ/อุปกรณ์ใช้เก็บของเสียในผู้ป่วยผ่าตัดเปิดทวารเทียม สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕

โดย สปสช.เขต 7 ขอนแก่น

วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 เวลา 13.30 – 15.30 น.

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายโรคโควิด 19 วันที่ 24 มีนาคม 2565

0 0
Read Time:41 Second

ประชุมชี้แจงแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 วันที่ 24 มีนาคม 2565

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สรุปการบันทึกเบิกค่ารักษาตามประกาศ สปส. (อัพเดตหลัง4ก.ค.65)

0 0
Read Time:3 Minute, 32 Second

สรุปการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 11 มีนาคม 2565
(หลักเกณฑ์การเบิก ในสถานการณ์ COVID-19) โดยสำนักสารสนเทศบริการสุขภาพ 31 มีนาคม 2565

ตามประกาศฯ ของสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65 ได้ประกาศหลักเกณฑ์และอัตราการเบิกค่ารักษาผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 และแนวปฏิบัติการส่งข้อมูลเบิกของ สกส. เลขที่ CHI65-A05 – CHI65-A09 ได้แจ้งวิธีปฏิบัติในการเบิกค่ารักษาฯ ในกรณีต่างๆ สกส.จึงสรุปการเบิกค่ารักษาฯ ดังนี้

รายการ

  • ก. กรณีการตรวจคัดกรอง เบิกผ่านระบบ สปสช.
  • ข. กรณีผู้ป่วยนอกตามแนวทาง เจอ แจก จบ (Self – Isolation)
    1. สถานพยาบาลในโครงการ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A05
    2. สถานพยาบาลนอกโครงการ
      • สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
      • สถานพยาบาลของเอกชน (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
  • ค. กรณี Home Isolation และ Community Isolation
    • 1.สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
    • 2.สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
  • ง. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ใน Hospitel
    • สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08
    • สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08 *หากเบิกผ่านโปรแกรม SIP09 ไม่ได้ ให้รอแนวปฏิบัติต่อไป
  • จ. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน
    • กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว
      • สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
      • สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
    • กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเหลือง/แดง
      • สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
      • สถานพยาบาลเอกชน เบิกผ่านระบบ UCEP Plus
  • แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 กรณี โรงพยาบาลสนาม Hotel Isolation และปรับปรุงกรณี Hospitel ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID กรณี ดูแลรักษาผู้ป่วยใน Hospitel สำหรับสถานพยาบาลของรัฐและสถานพยาบาลเอกชนตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ สำนักงานประกันสังคม ลงวันที่ 29 เม.ย. 65

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว540 ลงวันที่ 8 มิ.ย. 2565

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว 805 ลงวันที่ 12 ก.ค. 2565

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว7007 ลงวันที่ 12 ก.ค. 65

รวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผป.โควิด 19 และแนวทางการจ่ายชดเชย ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

  1. รวมแนวทางการจ่าย โควิด 19  link
  2. รหัส C และแนวทางแก้ไข link
  3. รหัส V และแนวทางแก้ไข link
  4. การเตรียมเอกสารเพื่อขอทบทวน link
  5. การจัดบริการ Home Isolation กรมการแพทย์ link
  6. รหัสเบิก COVID19 link
  7. CPG COVID19 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 link
  8. กรมการแพทย์ CPG COVID19 วันที่ 3 มีนาคม 2565 link
  9. ชี้แจงแนวทางการตรวจสอบ OP self isolation HI CI link
  10. การพิสูจน์ตัวตนในการขอ Authentication Code link
  11. อ.กฤติยา_ชี้แจงหน่วยบริการ การจ่ายชดเชยโควิด 19 _3มีค6 link
  12. Final_แบบบันทึกเวชระเบียนOP_Self isolation_25650302 link
  13. คู่มือสำหรับหน่วยบริการแนบไฟล์ PPFS_VA_CO link
  14. การบันทึกข้อมูลกรณีโรคโควิด 19 ในระบบ e-Claim link
  15. OP self ร้านยา link
  16. โปรแกรม e-Claim สำหรับ OP self ร้านยา link
  17. AMED SI link
  18. แนวทางตรวจสอบ OP Self link
  19. การขึ้นทะเบียนและการทำสัญญา link
Happy
2 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงการดำเนินงาน ATK phase 2

0 0
Read Time:36 Second

กำหนดการชี้แจงโครงการ 24 ก.พ. 65
ㆍ 9.00 – 9.30 น. เลขาธิการ สปสช. กล่าวเปิดโครงการ
ㆍ 9.30 – 10.00 น. ชี้แจงโครงการ โดย นพ. อภิชาต รอดสม รองเลขาธิการสปสช.
ㆍ10.00 – 11.00 น. ขั้นตอนและแนวทาง การใช้ระบบสารสนเทศ ในการดำเนินโครงการ โดย ทีมงาน KTB
ㆍ11.00 – 12.00 น. ถามตอบปัญหา phase 1 และ 2 โดย พญ. กฤติยา ศรีประเสริฐ ที่ปรึกษา สปสช. /คุณ เบญจมาส เลลิศชาคร ผู้ช่วยเลขาธิการ สปสช. และทีมงานสายบริหารกองทุน/ ทีมงาน KTB /ภญ. สมฤทัย สุพรรณกูล สปสช.

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คู่มือขอรับค่าใช้จ่าย ปี 2565

0 0
Read Time:1 Minute, 0 Second

คู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) โดยฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการได้จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขปีงบประมาณ 2565 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานของหน่วยบริการ/สถานบริการ/สถานพยาบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ตลอดจนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการให้บริการแก่ผู้มีสิทธิ ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอรับค่าใช้จ่ายในกรณีต่างๆ ของสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสิทธิอื่นที่ สปสช.ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการ
สปสช.หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ปฏิบัติงานด้านการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/สถานพยาบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถขอรับค่าใช้จ่ายได้ตามแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ได้รับเงินค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ภายในเวลาที่กำหนด

Happy
6 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version