ตัวชี้วัด

วิธีคำนวณ

แหล่งข้อมูล

1. ด้านการรักษาพยาบาล

- จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อวัน

 

จำนวนครั้งของผู้มีสิทธิ UC ในความรับผิดชอบของหน่วยบริการประจำไป

ใช้บริการผู้ป่วยนอกทั้งหมดในรอบปีที่ผ่านมา หารด้วย 365 วัน

OP/PP Individual

- 5 อันดับโรคของผู้มารับบริการที่ระดับบริการปฐมภูมิ

เรียงลำดับครั้งของผู้ป่วยสิทธิ UC รายโรค จากมากไปน้อย 5 ลำดับแรกที่ใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ

OP/PP Individual

- สัดส่วนผู้ป่วยที่ไปใช้บริการปฐมภูมิต่อโรงพยาบาล

A/B

A = จำนวนครั้งผู้มีสิทธิUC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ในช่วงเวลา 1 ปี ตามที่ สปสช. กำหนด

B = จำนวนครั้งผู้มีสิทธิ UC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล ในช่วงเวลา 1 ปี ตามที่ สปสช. กำหนด

OP/PP Individual

 

- 5 อันดับโรคที่มีการส่งต่อจากปฐมภูมิไปทุติยภูมิ

เรียงลำดับครั้งของผู้ป่วยสิทธิ UC รายโรค ที่มีการส่งต่อจากหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาล (หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ) จากมากไปน้อย 5 ลำดับแรก

OP/PP Individual

2. ตัวชี้วัด QOF (Ouality and Outcome Framework)

ตัวชี้วัดด้านที่ 1 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

1.1 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์

(A/B) x 100

A = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายในหน่วยบริการที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก

(ใน B) โดยอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรก

ของการตั้งครรภ์ครั้งนั้น) จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน

B = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกใน

หน่วยบริการทั้งหมดของแต่ละหน่วยลงทะเบียน

OP/PP Individual

1.2 ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

(A/B) x 100

A = จำนวนหญิงคลอดแล้วทุกสิทธิประกันสุขภาพ (ใน B) ที่มีประวัติได้รับการดูแลก่อนคลอดครบทั้ง 5 ครั้ง (นำหญิงคลอดในแฟ้ม MCH มาหาประวัติการดูแลก่อนคลอด ใน แฟ้ม ANC ย้อนล่วงหน้าตามช่วงเวลาที่สปสช.กำหนด จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน

B = จำนวนหญิงคลอดบุตรแล้วทุกสิทธิ ในเขตรับผิดชอบของหน่วยลงทะเบียน ในช่วงเวลา 1 ปี ตามที่ สปสช.กำหนด (จากแฟ้ม MCH)จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน

OP/PP Individual

1.3 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี30-60 ปี ภายใน 5 ปี

(A/B) x 100

A = จำนวนสตรีอายุ 30-60 ปีทุกสิทธิ (ใน B)ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตามช่วงเวลาที่ สปสช.กำหนด จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน

B = จำนวนสตรีอายุ 30-60 ปีทุกสิทธิในเขตรับผิดชอบ จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน

OP/PP Individual & Pap registry

 

ตัวชี้วัดด้านที่ 2: คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ

2.1 สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ

ต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล

A/B

A = จำนวนครั้งผู้มีสิทธิUC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ในช่วงเวลา 1 ปี ตามที่ สปสช. กำหนด

B = จำนวนครั้งผู้มีสิทธิ UC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล ในช่วงเวลา 1 ปี ตามที่ สปสช. กำหนด

OP/PP Individual

 

2.2 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคหืด สิทธิUC

(A/B) x 100

A = จำนวนครั้งที่ผู้ป่วยโรคหืดสิทธิ UC ที่ลงทะเบียนของหน่วยบริการประจำ(Hmain OP) เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคหลักเป็นโรคหืด สิทธิ UCS โรคหลัก Pdx= J45-J46 RIGHT = UCS, WEL

B = จำนวนผู้ป่วยโรคหืดสิทธิ UC ที่อยู่ในความดูแลของหน่วยบริการประจำ (Hmain OP) ณ สิ้นเดือนกันยายนของปีที่ผ่านมา สิทธิ UCS All DX : J45-J46 RIGHT = UCS, WEL

OP/PP Individual & E-claim

2.3 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น สิทธิ UC

(A/B) x 100

A = จำนวนครั้งที่ผู้ป่วยเบาหวานสิทธิ UC อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ลงทะเบียนของหน่วยบริการประจำ (Hmain OP) เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคหลักเป็นโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น โรคหลัก Pdx= E100 - E101 or E110 - E111 or E120 - E121 or E130 - E131 or E140 - E141

AGE >= 15 ปี ณ วันที่เข้ารับบริการ (Dateadm) AND RIGHT = UCS, WEL B = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานสิทธิ UCS ที่อยู่ในความดูแลของหน่วยบริการประจำ (Hmain OP) ณ สิ้นเดือนกันยายนของปีที่ผ่านมา อายุ 15 ปีขึ้นไป All DX : E10 – E14

AGE >= 15 AND RIGHT = UCS, WEL สิทธิ UC

OP/PP Individual & E-claim

 

2.4 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูงสิทธิUC

(A/B) X 100

A = จำนวนครั้งที่ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสิทธิ UC อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ลงทะเบียนของหน่วยบริการประจำ (Hmain OP) เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคหลักเป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง ประกอบด้วย

1. ความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง

2. โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke ) ชนิด Hemorrhage และมีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง และโรคร่วมไม่ใช่อุบัติเหตุ

3. Hypertensive retinopathy (H35.0) และมีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง

โรคหลัก (Pdx) = I10 - I15, I674) OR Pdx= I60-I62 and Sdx= I10-I15, I674 and Sdx ≠ S00-T99 OR Pdx =H350 and Sdx = (I10-I15, I674)

AGE >= 15 ปี ณ วันที่เข้ารับบริการ (Dateadm) AND RIGHT = UCS, WEL

B = จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสิทธิ UC ที่อยู่ในความดูแลของหน่วย

บริการประจำ(Hmain OP) ณ สิ้นเดือนกันยายนของปีที่ผ่านมา อายุ 15 ปีขึ้นไป สิทธิ UC All DX = I10 - I15, I674, H35.0 AGE >= 15 AND RIGHT = UCS, WEL

OP/PP Individual & E-claim

 

ตัวชี้วัดด้านที่ 3: คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการ ระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ

3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจดูแล

(A/B) x 100

A = จำนวนประชาชนสิทธิ UC ในความรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีบุคลากรตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ

B = จำนวนประชาชนสิทธิ UC ทั้งหมดของหน่วยบริการประจำ

ผลการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ

 

3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน

(A/B) x 100

A = จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการแบบไม่มีงื่อนไข

B = จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมดของหน่วยบริการประจำ

ผลการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ